จังหวัดนครสวรรค์
 
www.nakhonsawan.go.th
 
   
วิสัยทัศน์จังหวัด : จังหวัดนครสวรรค์ศูนย์กลางการผลิต การค้าข้าวและสินค้าเกษตร
เมืองแห่งการศึกษา มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและธรรมชาติ สังคมมีความเข้มแข็งตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
  หน้าหลัก
ข้อมูลทั่วไป
; ข้อมูลเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและสังคม ประจำปี 2555
ข้อมูลเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและสังคม ประจำปี 2556
ข้อมูลเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและสังคม ประจำปี 2557
  ข้อมูลด้านสังคม
ประชากร
การนับถือศาสนา
การศึกษา
การสาธารณสุข
อาชญากรรม
ยาเสพติด
  สังคมสงเคราะห์
สังคมสงเคราะห์
  โครงสร้างพื้นฐาน
ไฟฟ้า
ประปา
การคมนาคม
  ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด
รายได้ประชากร
เกษตรกรรม
การอุตสาหกรรม
เหมืองแร่
การพาณิชย์
แรงงาน
การใช้/ถือครองที่ดิน
ตัวชี้วัดความจำเป็นพื้นฐาน(จปฐ.) ปี 52
 
   

ข้อมูลเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและสังคม
  เกษตรกรรม



1) พืชเศรษฐกิจหลัก
                  พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดนครสวรรค์ คือ ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ถั่วเขียว     ถั่วเหลือง ถั่วลิสง อ้อย ฝ้าย งา และมันสำปะหลัง โดยเป็นแหล่งปลูกข้าวที่ใหญ่ที่สุดในภาคเหนือเป็นแหล่งปลูกข้าวโพดที่ใหญ่เป็นที่สองในภาคเหนือ รองจากจังหวัดเพชรบูรณ์ และเป็นแหล่งปลูกอ้อยมากในภาคเหนือ รองจากจังหวัดกำแพง เพชร
                (1) ข้าวนาปี เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดนครสวรรค์ อำเภอ ที่มีเนื้อที่  ทำนามากที่สุดได้แก่ อำเภอบรรพตพิสัย อำเภอลาดยาว วิธีการเพาะปลูกของจังหวัดมีแบบปักดำ หว่านน้ำตม หว่านสำรวย แต่ปัจจุบันเกษตรกรรมไม่นิยม เพาะปลูกแบบปักดำ เพราะขาดแคลนแรงงาน ทำให้ต้นทุนการผลิตสูง ช่วงฤดูการเพาะปลูกเริ่มเดือนพฤษภาคม พื้นที่การเพาะปลุกส่วนใหญ่เป็นนาน้ำฝน ดังนั้น ผลผลิตจึงขึ้นอยู่กับอิทธิพลของสภาวะแวดล้อมทางธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ เช่น ฝนแล้ง ฝนทิ้งช่วงหรือภาวะน้ำท่วม เป็นต้น
                (2) ข้าวนาปรัง ในจังหวัดนครสวรรค์มีแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญที่สุด คืออำเภอชุมแสง อำเภอบรรพตพิสัย สำหรับการเพาะปลูกใน พ.ศ. 2552 มีการจำกัดพื้นที่เพาะปลูก เนื่องจากน้ำมีไม่พอเพียง

จากการที่มีการผลิตในสาขาเกษตรกรรมเป็นสาขาหลัก    จึงทำให้มีแหล่งรองรับสินค้าการเกษตรหลายแหล่ง  โดยเฉพาะข้าวมีตลาดกลางข้าว 8 แห่ง ที่อำเภอเมืองนครสวรรค์  อำเภอพยุหะคีรี  และอำเภอเก้าเลี้ยวโดยมีตลาดกลางข้าว   " ท่าข้าวกำนันทรง "  ได้ชื่อว่าเป็นตลาดกลาง ข้าวเปลือกที่ใหญ่และมีชื่อ เสียงที่สุดของประเทศ นอกจากนี้เพื่อส่งเสริมการส่งออกข้าวออกสู่ตลาดต่างประเทศ ได้จัดตั้งศูนย์ส่งออกข้าวแบบเบ็ดเสร็จที่ท่าข้าวกำนันทรง และศูนย์ส่งเสริมการส่งออกที่ศาลากลางจังหวัดนครสวรรค์ชั้นล่าง

ข้อมูลปริมาณผลผลิตพืชเศรษฐกิจของจังหวัดนครสวรรค์  (ปี2554/2555)

ชื่อชนิดพืช

พื้นที่ปลูก(ไร่)

ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่(กก./ไร่)

ผลผลิตรวม(ตัน)

คิดเป็นมูลค่า(ล้านบาท)

1. ข้าวนาปี

2,643,774

713

1,403,664,001

11,229.31

2. ข้าวนาปรัง

895,454

720

642,293,421

5,138.31

3. อ้อยโรงงาน

639,972

10,150

6,495,715,800

6,495.71

4. มันสำปะหลัง

479,482

3,672

1,709,026,209

3,828.21

5. ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

187,966

774

127,084,527

521.04

6. ข้าวฟ่าง

22,382

500

11,191,000

104.89

7. ถัวเขียวผิวมัน

29,564

152

3,685,688

104.89

8. ทานตะวัน

19,015

238

4,531,750

81.57

รวม

4,917,609

-

10,397,192,396

27,460.62


 


ข้อมูลการผลิตพืช ปีเพาะปลูก 2556/57

ผลผลิต
 การเกษตร

 เนื้อที่
 เพาะปลูก

 เนื้อที่
 เสียหาย

 เนื้อที่
 เก็บเกี่ยว

ผลผลิต(ก.ก.) 

 ผลผลิตเฉลี่ย
 (ก.ก./ไร่)

อ้อยโรงงาน

562,603

5,015

552,647

5,659,657,927

10,241

มันสำปะหลัง

553,401

10,532

525,537

1,782,621,504

3,392

ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

319,688

238

307,302

245,226,996

798


หมายเหตุ  ข้อมูลอ้อยโรงงานและมันสำปะหลัง   ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2553
                      ข้อมูลข้าวโพดเลี้ยงสัตว์                 ณ วันที่  31 มกราคม 2553


ข้อมูล : สำนักงานเกษตรจังหวัดนครสวรรค์   : มกราคม 2554

2) การประมง

                แหล่งประมงน้ำจืดที่ใหญ่ที่สุด ได้แก่  บึงบอระเพ็ด มีเนื้อที่ประมาณ 132, 737 ไร่  และยังมีแม่น้ำสองสายที่สำคัญ คือ  แม่น้ำปิง (แม่น้ำปิงรวมกับแม่น้ำวัง)  และแม่น้ำน่าน (แม่น้ำน่านรวมกับแม่น้ำยม) ไหลมารวมที่บริเวณปากน้ำโพ  ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของแม่น้ำเจ้าพระยา นอกจากนี้ ยังมีแหล่งน้ำต่าง ๆ  เช่น  ลำคลอง หนอง บึง คิดเป็นพื้นที่ที่ทำการประมงน้ำจืด  ประมาณ 209,867 ไร่ ปริมาณสัตว์น้ำที่จับได้จาก แหล่งน้ำธรรมชาติ ประมาณ 12,312386 กิโลกรัมต่อไร่ มูลค่าประมาณ 344,626,948 บาท
                การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด ในปี 2552  จำนวน 13,830 ครัวเรือน ในพื้นที่ 15,322 ไร่   รวม 19,733  บ่อ บริมาณสัตว์น้ำที่จับได้จากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ประมาณ 36,699,761.61 กิโลกรัมต่อปี มูลค่าประมาณ 695 ล้านบาท พื้นที่ที่ทำการเพาะเลี้ยงมากที่สุดคือ อำเภอเมืองนครสวรรค์ 4,511.36  ไร่  7,249 บ่อ
จำนวนผู้ประกอบการด้านการประมง จำนวนฟาร์ม และเนื้อที่เลี้ยง

อำเภอ

จำนวนผู้ประกอบการ(ราย)

จำนวนฟาร์ม

เนื้อที่เลี้ยงรวมทั้งหมด(ไร่)

เนื้อที่ฟาร์ม(ไร่)

เมืองนครสวรรค์

1,848

1,944

4,951.32

11,141.10

โกรกพระ

715

780

528.4943

15,740.53

ชุมแสง

2,132

2,294

4,716.32

29,496.23

หนองบัว

942

967

3,313.03

15,749.51

บรรพตพิสัย

1,231

1,299

2,102.31

23,979.52

เก้าเลี้ยว

372

390

667.652

37,561.35

ตาคลี

487

506

782.3525

6,919.40

ท่าตะโก

381

385

472.845

5,089.85

ไพศาลี

229

233

1,382.70

5,187.28

พยุหะคีรี

350

355

403.07

6,668.20

ลาดยาว

470

538

824.07

5,284.67

ตากฟ้า

13

13

16.75

198

แม่วงก์

172

172

218.5

3,411.75

แม่เปิน

141

145

266

3,133.21

ชุมตาบง

327

328

546.5

7,496.70

 

9,792 

10,349

21,191.91

177,057.29


หมายเหตุ  สนง.ประมงจังหวัดจะจัดเก็บข้อมูลของปี 2553 ภายในเดือนมีนาคม 2554

จากข้อมูลข้างต้นเมื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลปี 2551 ปรากฏว่า จำนวนครัวเรือน จำนวนบ่อ และเนื้อที่การเลี้ยงลดลง เนื่องจาก ราคาอาหารสัตว์น้ำชนิดอาหารสำเร็จรูปมีราคาแพงขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา เมื่อเทียบกับราคาผลผลิตสัตว์น้ำยังมีราคาคงที่ ประกอบกับเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาประสบปัญหาภัยแล้ง จึงทำให้ชะลอการเลี้ยงปลาลง
                การขึ้นทะเบียนครอบครองสัตว์ป่าคุ้มครอง(ข้อมูลเดือน พฤศจิกายน 2553) มีผู้ได้รับการขึ้นทะเบียนฯ แล้ว จำนวน 82 ราย โดยแบ่งเป็นผู้ครอบครองจระเข้ จำนวน 40 ราย ผู้ครอบครองปลาเสือตอ จำนวน 27 ราย และผู้ครอบครองปลาตะพัด จำนวน 15 ราย
                จำนวนและชนิดสัตว์ป่าคุ้มครอง แบ่งเป็น จระเข้น้ำจืด จำนวน 8,174 ตัว จระเข้น้ำจืด 7,718 ตัว รวมจระเข้ที่ขึ้นทะเบียนสัตว์น้ำคุ้มครองทั้งหมด 15,892 ตัว ปลาเสือตอ จำนวน 93 ตัว และปลาตะพัด จำนวน 42 ตัว


ข้อมูล : สำนักงานประมงจังหวัดนครสวรรค์ ข้อมูล ณ เดือนพฤษภาคม 2555

3) การปศุสัตว์

การปศุสัตว์ข้อมูลจำนวนปศุสัตว์ (ปี 2555)

อำเภอ

จำนวนเกษตรกร(ครัวเรือน)

พื้นที่ปลูกหญ้า(ไร่)

โคเนื้อ(ตัว)

โคนม (ตัว)

กระบือ(ตัว)

สุกร(ตัว)

เมืองนครสวรรค์

2,451

0.00

5,507

0

144

1,968

โกรกพระ

1,434

0.00

2,689

2

609

6,232

ชุมแสง

3,934

0.00

2,212

0

52

4,618

หนองบัว

4,982

809.00

13,695

6

280

4,070

บรรพตพิสัย

4,720

18.50

851

0

73

33,457

ตาคลี

2,435

0.00

6575

41

2

1,787

ท่าตะโก

6,124

63.50

5,822

73

11

13,828

พยุหะคีรี

2,392

188.50

11,814

0

133

3,579

ลาดยาว

3,118

0.00

2,384

3

1,020

5,474

ไพศาลี

361

0.00

1,463

0

74

104

เก้าเลี้ยว

2,120

419.25

4,580

1,271

13

5,719

ตากฟ้า

1,832

0.00

107

47

309

465

แม่วงก์

1,898

0.00

1,846

0

68

2,767

แม่เปิน

1,367

1.00

799

0

96

887

ชุมตาบง

1,421

459.00

765

0

92

948

รวม

40,589

1,958.75

61,109

1,443

2,976

85,903


ข้อมูล :สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดนครสวรรค์ ข้อมูล ณ วันที่ 8 สิงหาคม 2555

 

Information Data and Communication Division Office of Nakhon Sawan Provincial Sawanvitee Rd., Tumbol Nakhonsawantok,
Muang District, Nakhonsawan Tel./Fax. 0-5680-3600-4 E-mail :: nakhonsawan@moi.go.th
กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานจังหวัดนครสวรรค์ ถ.สวรรค์วิถี ต.นครสวรรค์ตก อ.เมือง จ.นครสวรรค์ โทรศัพท์ / โทรสาร 0-5680-3600-4 มท. 15429